วันพฤหัสบดีที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2559

โครงงาน เชื้อเพลิง ชีวมวล (เผาถ่าน)

โครงงาน
เรื่อง เชื้อเพลิงชีวะมวล (เผาถ่าน)


คณะผู้จัดทำ

4/1
1.นายฉัตรดนัย พระชุ่มรัมย์ เลขที่ 1
2.น.ส.กมลพร มาวิเศษ เลขที่ 9
3.น.ส.สุชาดา อาจทวีกุล เลขที่ 29
4.น.ส.สุดารัตน์ รอยดี เลขที่ 30



เสนอ
คุณครู รตนัตตยา จันทะนะสาโร



ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2558

สำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาเขต 32

โรงเรียนภัทรบพิตร




บทคัดย่อ
โครงงาน  เชื้อเพลิงชีวะมวล (เผาถ่าน)
ผู้จัดทำ นายฉัตรดนัย พระชุ่มรัมย์ น.ส.กมลพร มาวิเศษ น.ส.สุชาดา อาจทวีกุล
น.ส.สุดารัตน์ รอยดี
อาจารย์ที่ปรึกษา รตนัตตยา จันทะนะสาโร
สถานศึกษา โรงเรียนภัทรบพิตร จ.บุรีรัมย์

บทคัดย่อ
    เนื่องจากในปัจจุบันตามถนนหนทางตามชนบทมักจะมีต้นไม้และมักมีกิ่งไม้ต่างๆหล่นจากต้นอยู่ตามข้างทางอยู่มาก เราจึงหาวิธีการแกไขเรื่องนี้ โยหาวิธีนำเศษไม้นั้นมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุดและทำได้ง่ายที่สุดคือการนำมาเป็นถ่านใช้ในครัวเรือน เพื่อใช้เป็นพลังงานอย่างหนึ่งที่มนุษย์ต้องการใช้ และยังลดปริมาณเศษไม้ข้างถนนได้ แทนที่จะซื้อถ่านมาใช้ เราก็นำเศษไม้มาทำเองเพื่อต้องการใช้พลังงานและประโยชน์จากเศษไม้ให้ได้มากที่สุด














กิตติกรรมประกาศ
   โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องเชื้อเพลิงชีวะมวล(เผาถ่าน) สำเร็จลุล่วงได้โดยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างสูงยิ่งจาก อาจารย์รนัตตยา จันทะนะสาโร อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ที่ได้กรุณาให้คำปรึกษาแนะนำ และตรวจสอบแก้ไข ข้อบกพร่องทุกขั้นตอนการจัดทำโครงงาน ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
  ท้ายที่สุดคณะผู้จัดทำโครงงาน หวังว่าโครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้สนใจไม่มากก็น้อย


นายฉัตรดนัย พระชุ่มรัมย์
น.ส.กมลพร มาวิเศษ
น.ส.สุชาดา อาจทวีกุล
น.ส.สุดารัตน์ รอยดี
















บทที่ 1
บทนำ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
               จากที่สำรวจในบริเวณในหมู่บ้าน พบเศษไม้ต่างๆ อยู่ข้างถนนบ้าง กลางถนนบ้าง ทำให้เกิดปัญหาในการจราจร และอาจเกิดอันตรายได้ จึงนำเศษไม้เหล่านั้นมาเผาถ่าน เพื่อใช้ประโยชน์จากถ่าน และทำให้บริเวณที่เกิดปัญหา มีปัญหาน้อยลงได้ ไม่มากก็น้อย และใช้ไปแจกชาวบ้านได้อีกด้วย

สมมุติฐาน
            เมื่อนำมาเผาจะเป็นธาตุที่มีกลิ่น สี น้ำหนัก การติดไฟ เปลี่ยนไปจากเดิม

จุดมุ่งหมายของการศึกษา
                1.เพื่อศึกษาเพื่อให้ได้รู้ประโยชน์และความสำคัญของถ่าน
  2.เพื่อนำความรู้ที่ได้มาใช้ประโยชน์ ในท้องถิ่น
  3.เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ตัวแปร
             ตัวแปรต้น   ไม้,เศษไม้
            ตัวแปรตาม    ถ่านที่ได้จากการเผา
            ตัวแปรควบคุม    อุณหภูมิ ความร้อน ปริมาณของไม้

ขอบเขตของการศึกษา
                1.น้ำหมักชีวภาพจากอัญชันและมะกรูด  จะใช้อัญชันสีม่วงพันธ์กลีบชั้นเดียว และพันธ์กลีบซ้อน
                2.กระจกที่ใช้ทำการทดลอง ใช้กระจกเงาและกระจกใส ที่ความสกปรกตามปกติ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
                น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูด สามารถนำไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจกแทนน้ำยาเช็ดกระจกทั่วไปได้   และช่วยลดสารพิษตกค้าง





บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ถ่าน หมายถึง ไม้ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง ไม้แห้งทุกชนิดและทุกขนาดอาจใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือฟืนได้ทั้งสิ้น สำหรับขี้เลื่อยที่มีขนาดเล็ก อาจอัดให้เป็นก้อนเสียก่อนเพื่อความสะดวกในการหยิบฉวย ฟืนมีข้อเสีย คือ เมื่อติดไฟแล้วมีควัน และให้ความร้อนต่ำ การปรับปรุงเตาฟืนเพื่อให้การเผาไหม้ดีขึ้นจะช่วยให้การใช้ฟืนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อนึ่ง เพื่อความสมบูรณ์ของการเผาไหม้ อุตสาหกรรมที่ใช้เศษไม้เป็นเชื้อเพลิง ต้องทำให้เศษไม้เป็นผงแบบขี้เลื่อย หรือละเอียดว่านั้นก่อน แล้วจึงพ่นไปสู่เตาที่ออกแบบสร้างไว้อย่างเหมาะสม

ไม้ เป็นวัสดุแข็งที่ทำจากแก่นลำต้นของต้นไม้ ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น โดยแบ่งเป็นไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้เต็ง ไม้แดง และไม้เนื้ออ่อน เช่น ไม้สัก ไม้ยางพารา โดยนิยามแล้วไม้ จะหมายถึงเนื้อเยื่อไซเล็มชั้นที่สอง (Xylem) ของต้นไม้ แต่ในความเข้าใจไม้ อาจหมายรวมไปถึงวัสดุใดๆ ที่มีส่วนประกอบทำมาจากไม้ด้วย
ไม้สามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ประโยชน์อย่างหนึ่งคือ ใช้เป็นเชื้อเพลิง เช่น ถ่านหรือฟืน บางครั้งก็ใช้ในงานศิลปะ ทำเฟอร์นิเจอร์ ทำอาวุธ หรือเป็นวัสดุก่อสร้าง ไม้ยังคงเป็นส่วนประกอบสำคัญในการก่อสร้าง ตั้งแต่มนุษย์เริ่มสามารถสร้างบ้านที่อยู่อาศัย หรือเรือ โดยเรือแทบทุกลำในช่วงปี 80 ทำมาจากไม้แทบทั้งสิ้น ซึ่งในปัจจุบันบ้านหรือเรือที่ทำจากไม้ เริ่มมีจำนวนลดลง โดยปัจจุบันมีการนำวัสดุอื่นมาใช้ในการสร้างแทน แต่ว่าไม้ยังคงมีส่วนสำคัญในด้านการเสริมโครงสร้าง หรือเป็นวัสดุเสริม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการสร้างหลังคา และของประดับนอกบ้าน ไม้ที่ใช้ในงานก่อสร้างรู้จักกันในชื่อ ไม้แปรรูป


         ไม้ เป็นวัสดุแข็งที่ทำจากแก่นลำต้นของต้นไม้ ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น โดยแบ่งเป็นไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้เต็ง ไม้แดง และไม้เนื้ออ่อน เช่น ไม้สัก ไม้ยางพารา โดยนิยามแล้วไม้ จะหมายถึงเนื้อเยื่อไซเล็มชั้นที่สอง (Xylem) ของต้นไม้ แต่ในความเข้าใจไม้ อาจหมายรวมไปถึงวัสดุใดๆ ที่มีส่วนประกอบทำมาจากไม้ด้วย
ไม้สามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ประโยชน์อย่างหนึ่งคือ ใช้เป็นเชื้อเพลิง เช่น ถ่านหรือฟืน บางครั้งก็ใช้ในงานศิลปะ ทำเฟอร์นิเจอร์ ทำอาวุธ หรือเป็นวัสดุก่อสร้าง ไม้ยังคงเป็นส่วนประกอบสำคัญในการก่อสร้าง ตั้งแต่มนุษย์เริ่มสามารถสร้างบ้านที่อยู่อาศัย หรือเรือ โดยเรือแทบทุกลำในช่วงปี 80 ทำมาจากไม้แทบทั้งสิ้น ซึ่งในปัจจุบันบ้านหรือเรือที่ทำจากไม้ เริ่มมีจำนวนลดลง โดยปัจจุบันมีการนำวัสดุอื่นมาใช้ในการสร้างแทน แต่ว่าไม้ยังคงมีส่วนสำคัญในด้านการเสริมโครงสร้าง หรือเป็นวัสดุเสริม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการสร้างหลังคา และของประดับนอกบ้าน ไม้ที่ใช้ในงานก่อสร้างรู้จักกันในชื่อ ไม้แปรรูป

ที่มา  https://th.wikipedia.org








































บทที่ 3
วัสดุ อุปกรณ์และวิธีทำการทดลอง
วัสดุอุปกรณ์
1.กระสอบ
2.ไม้,เศษไม้
3.เตาเผา
4.อุปกรณ์กันความร้อน


วิธีดำเนินการทดลอง
1 ไปหาเศษไม้ กิ่งไม้ จากสถานที่ ที่พบปัญหา
2.นำไม้มาเข้าเตาเผา แล้วก่อไว้

 





3.ทิ้งไว้ 2-3 วัน จนเตาเริ่มเป็นสีแดง
4.ใช้ดินโคลนสาดเตาเผา รอจนหายร้อน แล้วจึงโกยเตา
5.เก็บถ่านที่เตาเผาได้













บทที่4
ผลจากการเผาถ่าน
ได้เป็นถ่านจากไม้ที่ค่อนข้างเล็ก และหักง่าย เนื่องจากไม้ที่ใช้ทำ เป็นเศษไม้ที่ตกลงมาจากลำต้น และทำให้เกิดปัญหา ถ่านที่ได้ มีสีดำ กลิ่นไม้เผา น้ำหนักเบา และสามารถติดไฟได้





บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
จากการเผาถ่าน
            ถ่านที่ได้จะมี สีดำ กลิ่นไม้เผา น้ำหนักเบา และสามารถติดไฟได้

ข้อเสนอแนะ
1.               นำน้ำถ่านไปใช้ประโยชน์ได้หลายโอกาส เช่น การทำหมูกระทะ จิ้มจุ่ม และทำอาหารไทยต่างๆ
และยังประหยัดพลังงานอื่นด้วย
2.         นำเศษไม้ที่หล่นอยู่ตามถนนภายในหมู่บ้านมาทำเพื่อเป็นการเก็บให้ข้างทางโล่งและนำมาใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น